ดาวหาง (Comets)
เป็นวัตถุขนาดเล็กเช่นเดียวกับดาวเคราะห์น้อยแต่มีวงจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวง
ยาวรีมาก มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นก๊าซในสถานะของแข็ง
เมื่อดางหางเคลท่อนที่เข้าหาดวงอาทิตย์
ความร้อนขะให้มวลของมันระเบิดกลายเป็นก๊าซ
ลมสุริยะเป่าให้ก๊าซเล่านั้นพุ่งออกไปในทิศทางตรงกันข้ามกับดวงอาทิตย์
กลายเป็นหาง
วัตถุ
ในแถบไคเปอร์ (Kuiper Belt Objects)
เป็นวัตถุที่หนาวเย็นเช่นเดียวกับดาวหาง
แต่มีวงโคจรอยู่ถัดจากดาวเนปจูนออกไป บางครั้งจึงเรียกว่า Trans Neptune
Objects ทั้งนี้แถบคุยเปอร์จะอยู่ในระนาบของสุริยะวิถี
โดยมีระยะห่างออกไปตั้งแต่ 40 – 500 AU (AU ย่อมาจาก Astronomical Unit
หรือ หน่วยดาราศาสตร์ เท่ากับระยะทางระหว่างโลกถึงดวงอาทิตย์ หรือ 150
ล้านกิโลเมตร) ดาวพลูโตเองก็จัดว่าเป็นวัตถุในแถบคุยเปอร์
รวมทั้งดาวเคราะห์แคระซึ่งค้นพบใหม่ เช่น อีริส เซ็ดนา วารูนา เป็นต้น
ปัจจุบันมีการค้นพบวัตถุในแถบไคเปอร์แล้วมากกว่า 35,000 ดวง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น